Cal Orko คือกำแพงหินขนาดใหญ่ที่มีความสูงกว่า 100 เมตร หรือราวๆ 325 ฟุต ที่ตั้งอยู่บริเวณ 5 กิโลเมตรจากตัวเมือง Surce ประเทศโบลิเวีย
VDO ประชาสัมพันธ์โครงการและไฟล์วารสารเส้นทางท่องเที่ยว Dinosaur Siamensis : ตะลุยเส้นทางผ่ามิติทะลุโลกล้านปี
กระทรวงทรัพฯ อนุญาตกองถ่ายจูราสสิค เวิลด์ 4 ใน 3 เขตอุทยานฯ ฝั่งอันดามัน
ใส่ให้สุดหยุดที่หอบ การแข่งวิ่ง “ทีเร็กซ์” ชิงแชมป์โลก 2024 ที่ทั้งวุ่นวาย ทั้งฮา ทั้งเหนื่อย
กรมการท่องเที่ยว ร่วมบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ในการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวตามรอยไดโนเสาร์และสิ่งมีชีวิตดึกดำบรรพ์ที่ถูกขุดค้นพบในพื้นที่ของประเทศไทย
กางเกงอุทยานธรณีขอนแก่น” เชิญชวนให้หาไว้สวมใส่ ตัวละ 200 บาท มีให้เลือก 2 ลาย ได้แก่ Geo-Rock สีน้ำตาล-ส้ม Fossilla สีน้ำตาลและฟ้าพาสเทล
นักวิทย์ฯ คาดอุกกาบาตที่ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ไดโนเสาร์ มาจากแถบดาวเคราะห์น้อยใกล้ดาวพฤหัส
นักท่องเที่ยวแห่ดูรอยปริศนาคล้าย "รอยตีนไดโนเสาร์" อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า จ.พิษณุโลก ประสานกรมทรัพยากรธรณีเข้าตรวจสอบ คาดมีลักษณะใกล้เคียงรอยตีนไดโนเสาร์อายุ 120 ล้านปีบริเวณน้ำตกหมันแดงที่เคยพบปี 2549 โดยนักท่องเที่ยวพบรอยเท้าคล้ายไดโนเสาร์ดังกล่าว บริเวณลานจอดฮอ ลานกางเต๊นท์ อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า
โครงการที่จะสร้างความเชื่อมโยงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวแต่ละแห่ง พัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวที่สร้างสรรค์ให้แก่แหล่งท่องเที่ยว สิ่งอํานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว และสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการตลาด ด้านการมุ่งเน้นพัฒนาการสื่อสารคุณค่าและภาพลักษณ์ของประเทศ
องุ่นถือเป็นพืชโบราณที่เชื่อมโยงกับอารยธรรมเมืองหนาวมาหลายพันปี ซึ่งคนโบราณก็ไม่รู้หรอกว่าองุ่นนั้นเก่าแก่แค่ไหน แต่ในความเป็นจริงคือนักวิจัยไปขุดค้นเจอฟอสซิลองุ่นที่มีอายุเก่าแก่ลงไปเรื่อยๆ ระดับเป็นล้านปี และเก่าสุดที่พบคืออายุ 66 ล้านปี ไม่เจอเก่ากว่านี้อีกแล้ว เขาจึงสันนิษฐานว่าองุ่นน่าจะเกิดขึ้นตั้งแต่ตอนนั้น
พบ ’ฟอสซิลฟัน 4 ซี่’ ของ ไดโนเสาร์วงศ์ไทแรนโนซอรอยเดีย (Tyrannosauroidea) ที่เคยมีชีวิตอยู่เมื่อ 66-70 ล้านปีก่อน อยู่บริเวณทางใต้สุดของจีน ฟันทั้งสามซี่ที่ค้นพบในซื่อฮุ่ยยังอยู่ในสภาพดีอย่างมาก โดยมีปลายฟัน (Tooth Crown) ยาวเกิน 6 เซนติเมตร ส่วนชิ้นส่วนฟันที่พบในกว่างโจวนั้นมีความยาว 3.3 ซม การค้นพบฟอสซิลฟันยังบ่งชี้ว่าในอดีตนั้นเคยมีไดโนเสาร์หลายสายพันธุ์อาศัยอยู่ในแถบจีนตอนใต้ ก่อนหน้าการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ในช่วงปลายยุคครีเทเชียส
ไดโนเสาร์สายพันธุ์ไทย เป็นสายพันธุ์ใหม่ของโลกที่พบในประเทศไทย มีลักษณะเฉพาะประจำสายพันธุ์ไทย โดยพบอยู่ในกลุ่มหินโคราชในมหายุคมีโซโซอิก จากรายงาน ณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 พบว่า มี 13 สายพันธุ์