แผนที่เชื่อมโยงเส้นทาง
DINOSAUR SIAMENSIS

obj-wg-network-map

ซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์สายพันธุ์ไทย

01

ชิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กี

Psittacosaurus sattayaraki

02

สยามโมดอน นิ่มงามมิ

Siamodon nimngami

03

สยามแรพเตอร์ สุวัจน์ติ

Siamraptor suwati

04

ราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ

Ratchasimasaurus suranareae

05

สิรินธรนา โคราชเอนซิส

Sirindhorna khoratensis

06

ภูเวียงเวเนเตอร์ แย้มนิยมมี

Phuwiangvenator yaemniyomi

07

ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน

Phuwiangosauraus sirindhornae

08

กินรีมินัส ขอนแก่นเอนซิส

Kinnareeminus khonkaenensis

09

วายุแรพเตอร์ หนองบัวลำภูเอนซิส

Vayuraptor nongbualamphuensis

10

สยามโมซอรัส สุธีธรนี

Siamosaurus suteethorni

11

สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส

Siamotyrannus isanensis

12

มินิโมเคอร์เซอร์ ภูน้อยเอนซิส

Minimocursor phunoiensis

13

อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชิ

Isanosaurus attavipachi

ชิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กี
ชิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กี

Psittacosaurus sattayaraki

สยามโมดอน นิ่มงามมิ
สยามโมดอน นิ่มงามมิ

Siamodon nimngami

สยามแรพเตอร์ สุวัจน์ติ
สยามแรพเตอร์ สุวัจน์ติ

Siamraptor suwati

ราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ
ราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ

Ratchasimasaurus suranareae

สิรินธรนา โคราชเอนซิส
สิรินธรนา โคราชเอนซิส

Sirindhorna khoratensis

ภูเวียงเวเนเตอร์ แย้มนิยมมี
ภูเวียงเวเนเตอร์ แย้มนิยมมี

Phuwiangvenator yaemniyomi

ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน
ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน

Phuwiangosauraus sirindhornae

กินรีมินัส ขอนแก่นเอนซิส
กินรีมินัส ขอนแก่นเอนซิส

Kinnareeminus khonkaenensis

วายุแรพเตอร์ หนองบัวลำภูเอนซิส
วายุแรพเตอร์ หนองบัวลำภูเอนซิส

Vayuraptor nongbualamphuensis

สยามโมซอรัส สุธีธรนี
สยามโมซอรัส สุธีธรนี

Siamosaurus suteethorni

สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส
สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส

Siamotyrannus isanensis

มินิโมเคอร์เซอร์ ภูน้อยเอนซิส
มินิโมเคอร์เซอร์ ภูน้อยเอนซิส

Minimocursor phunoiensis

อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชิ
อิสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชิ

Isanosaurus attavipachi

ข่าวสารและกิจกรรม
News and Events

Dinosaur Siamensis ตะลุยเส้นทางผ่ามิติทะลุโลกล้านปี

ประเทศไทยถือเป็นแหล่งค้นพบไดโนเสาร์สกุลใหม่ของโลกหลายสายพันธุ์ โดยนักโบราณชีววิทยา ของไทยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ ร่วมกันศึกษา ค้นคว้า และได้ขุดค้นพบซากดึกดำบรรพ์ครั้งแรก ในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2519 ที่อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น กระดูกไดโนเสาร์ในประเทศไทย ตั้งแต่นั้นมาประเทศไทยมีการขุดค้นพบกระดูกไดโนเสาร์ถึง 16 ชนิด ในจำนวนนี้เป็นไดโนเสาร์ชนิดใหม่ ของโลก 6 ชนิด และอีก 5 ชนิด อยู่ในกลุ่มสกุลใหม่ของโลก โดยได้รับการตั้งชื่อตามชื่อของบุคคลหรือสถานที่ที่ขุดพบ เช่น ไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ ภูเวียงโกซอรัสสิรินธรเน ไดโนเสาร์คล้ายนกกระจอกเทศ กินรีมีมัส ขอนแก่นเอนซิส ไดโนเสาร์ปากจระเข้ สยามโมซอรัสสุธีธรณี ไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ สยามโมไทรันนัส อีสานเอนซิส ฯลฯ รวมไปถึงซากฟอสซิลของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เช่น ไม้กลายเป็นหิน เป็นต้น โดยปัจจุบัน หน่วยงานที่รับผิดชอบการขุดค้นเป็นผู้ดูแลและดำเนินการสร้างพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ต่าง ๆ โดยมีรูปแบบการพัฒนาที่หลากหลายตามลักษณะพื้นที่ของตน

bg-dinosaur